วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

แบบฝึกหัดบทที่ 4

1. ให้นิสิตยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อ​ไปนี้
อย่างน้อยหัวข้อละ 3 ชนิด
1) การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
...-เทปแม่เหล็ก
-จานแม่เหล็ก
-บัตรเอทีเอ็ม

2) การแสดงผล
-เครื่องพิมพ์
-จอภาพ
-พลอตเตอร์

3) การประมวลผล
-ฮาร์ดแวร์
-ซอฟต์แวร์
-ซีพียู

4) การสื่อสารและเครือข่าย
-โทรทัศน์
-วิทยุกะจายเสียง

-อินเตอร์เน็ต

2. ให้นิสิตนำตัวเลขในช่องขวา มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้ายที่​มีความสัมพันธ์กัน
...2...ซอฟแวร์ประยุกต์
...3...Information Technology
...1...คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผ​ลข้อมูล
...4....เทคโนโลยีสารสนเทศประกอ​บด้วย
...5....ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

1. ส่วนใหญ่ใช้ทำหน้าที่คำนวณ ประมวลผลข้อมูล
2. e-Revenue
3. เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินก​าร
เกี่ยวกับสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง
...แม่นยำ และความรวดเร็วต่อการนำไปใช้
4. มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ Sender Meedium
และ Decoder
5. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรั​บ-ส่งเอกสาร
จากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยง​านหนึ่งโดยส่งผ่าน
เครือข่าย


วันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 3 การรู้สารสนเทศ

1.ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการรู้สาสนเทศ
.ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมินและใช้งานสารสนเทศ
2.จากกระบวนการรู้สารสนเทศทั้ง5ประการประการไหนสำคัญที่สุด
.ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
.ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกมส์
4.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
.สารสนเทศมีการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็ว จนยากที่จะเข้าถึง
5.ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของกระบวนการรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
.5-4-1-2-3

วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

รายชื่อพรรคฝ่ายค้านและจำนวนที่นั่ง

พรรคเพื่อไทย
พรรคพลังประชาชน
ฝ่ายค้าน ปชป ภท รท มาตุภูมิ รักษ์สันติ รวม 200 ที่นั่ง

บทที่ 2 บทบาทสารสนเทศกับสังคม

1.ให้นิสิตหารายชื่อเว็บไซต์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศที่ให้บริการต่างๆ ตามหัวข้อเหล่านี้มาอย่างละ3 ราการ
1.1 สาขาการศึกษา - http://www.siit.tu.ac.th/thai/thai.htmlสถาบันการศึกษานานาชาติ ด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- http://www.onec.go.th เว็บไซต์ศูนย์รวมของข่าวสาร ความรู้ด้านการศึกษา นำเสนอข้อมูลทั้งในรูปแบบของตัวอักษร
- http://www.ceted.org/cet_media
ให้บริการสำเนาสื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์และวิทยุ ที่ศูนย์ฯผลิต เป็นวีดิทัศน์ วีซีดี
1.2 วิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน - http://www.bartercard.co.th
- http://www.ustbc.org
- http://www.worldtradeaa.com
1.3 วิชาชีพสื่อมวลชน - http://www.ndwc.or.th/
- http://www.marketinstantly.com
- http://www.thaisnews.com
1.4 วิชาชีพทางอุตสาหกรรม บริษัท เฟสโต้ จำกัด - http://www.festo.com
ผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์ลมที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม
- http://www.philipmorrisinternationa
- http://www.marubeni.com

1.5วิชาชีพทางการแพทย์ -www.innoplast.net
-www.jico.co.th
- http://www.cppluspack.com
1.6 วิชาชีพทหารตำรวจ www.thaithesims3.com
www.dmc.tv
www.gun.in.th

1.7 วิชาชีพวิศวกรรม www.iet.rmuti.ac.th/ie/html/abouIE_c.htm
www.coe.or.th
www.civilclub.net
1.8 วิชาชีด้านเกษตรกรรม www.agkmstou.com
www.thaikasetsart.com
www.thaikasetsart.com
1.9 เกี่ยวกับคนพิการ www.tddf.or.th
www.tddf.or.th
www.braille-cet.in.th
2.มหาลัยวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้ท่าน มีอะไรบ้างบอกมา 3 อย่าง
-คอมพิวเตอร์
-จอโปรเจคเตอร์
-ทีวี
3.จากข้อ 2 จงวิเคราะห์ว่าเราจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้นมาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างไร
-ใช้ในการสืบค้นหาข้อมูลและหางานเกี่ยวกับการเรียนและใช้เป็นการเป็นการดูและเป็นสื่อในการเรียนและหาความรู้

วันพุธที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

แบบฝึกหัดบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ

1.ข้อมูลหมายถึง ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็นจากกระบวนการเลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และมื่อสถานการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์จะดำเนินการได้อย่างทันท่วงที
2.ข้อมูลปฐมภูมิคือ สารสนเทศที่ได้มาจากต้นแหล่งโดยตรงเป็นสารสนเทศทางวิชาการ
ยกตัวอย่างประกอบ เช่น วารสาร รายงานการวิจัย สิทธิบัตร
3.ข้อมูลทุติยภูมิคือ สารสนเทศที่มีการรวบรวม เรียบเรียงขึ้นใหม่จากแหล่งสารสนเทสปฐมภูมิ
ยกตัวอย่างประกอบ เช่น สื่ออ้างอิงประเภทต่างๆ สารนุกรม พจนานุกรม รายงานสถิติต่างๆ
4.สารสนเทศหมายถึง ข้อมูลข่าวสารที่ได้มีการจัดการทางความคิด คำนวณ ประมวลผล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ทันต่อการใช้ังานและทันเวลา
5.จงอธิบายประเภทสารสนเทศ
จำแนกออกเป็น 2 ส่วน คือ
1.ตามแหล่งสารสนเทศ
2.ตามสื่ออที่จัดเก็บและบันทึก
6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป้นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคือ สื่ออิเล็กทรอนกส์
7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น ข่าวสารหรือสารสนเทศ
8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็น ข้อมูล
9.ผลของการลงททะเบียนเป็น สารสนเทศ
10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาการจัดการสารสนเทศเทคโนโลยียุคใหม่ในชีวิตประจำวันsectionวันอังคารเป็น ข้อมูล

ความแตกต่างของลักษณะการเรียนในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัย

โรงเรียน - ท่องจำ ทำตามองค์ความรู้ ที่มีผู้หวังดีกำหนดให้มาเพื่อให้สอบผ่าน
มหาวิทยาลัย - ตั้งคำถาม แสวงหาคำตอบที่หลากหลาย ผลิตวิชาการที่
ไม่ใช่คำตอบสำเร็จรูป มีการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่ตอบคำถามใหม่ ๆ
อยู่ตลอดเวลา มีกิจกรรมวิพากษ์ วิจารณ์องค์ความรู้ เปิดเผย ถอดระหัส
องค์ความรู้ และวิธีสอน ก็คือ ใช้ไดอะแลคติค ให้ผู้เรียนค้นคว้าสร้าง
องค์ความรู้ด้วยความเป็นตัวของตัวเอง ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ พลิกแพลง
องค์ความรู้ได้
ดังนั้น สาระของมหาวิทยาลัยจึงไม่ใช่แค่ชื่อ แต่เป็นพฤติกรรมจริง ๆ

สรุปความหมายของการรู้สารสนเทศและกระบวนการรู้สารสนเทศ

การรู้สารสนเทศ คือ ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศการประเมินสารสนเทศและการนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
จำแนกทักษะการเรียนรู้ได้เป็น 4 ลักษณะ คือ
1.ทักษะสารสนเทศและการสื่อสาร
2.ทักษะการคิดและแก้ปัญหา
3.ทักษะการชี้นำตนเอง
4.การรับผิดชอบ
องค์ประกอบการรู้สารสนเทศ ประกอบด้วยความเข้าใจ และความสามารถ
1.ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ
2.ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
3.ความสามารถในการใช้สารสนเทศ
คุณลักษณะ คือ ลักษณะที่ให้คุณแก่เรา
คุณลักษณะการรู้สารสนเทศ
1.ตระหนักถึงความจำเป็นของสารสนเทศ
2.สามารถกำหนดขอบเขตสารสนเทศที่จำเป็น
3.เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.ประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเททศได้
5.นำสารสนเทศที่คักสรรแล้วมาสู่ความรู้เดิมได้
6.มีประสิทธิภาพในการใช้สารสนเทศตรงตามวัตถุประสงค์
7.เข้าใจประเด็นทางเศรษฐกิจสังคมและกฎหมายในการใช้สารสนเทศ
8.เข้าถึงและใช้สารสนเทศได้อย่างมีจริยธรรม
9.แบ่งประเภทจัดเก็บและสร้างความเหมาะสมให้กับสารสนเทศที่รวบรวมไว้
10.ตระหนักว่าการรู้สารสนเทศช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การรู้สารสนเทศจึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในบริบททุกอย่างในชีวิตบุคล
เพื่อความสำเร็จในการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ

วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ข้อสอบ 6 ข้อที่น่าจะออก

1.ศักยภาพของเทคโนโลยีไฮเทค 5 กลุ่ม สำคัญในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
2.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องใกล้ชิดและเกี่ยวพันกับชีวิตประจำวันของมนุษย์ในด้านใด
3.สารสนเทศใดมีความสำคัญต่อสังคมในด้านต่างๆ
4.สารสนเทศมีความสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคใหม่ที่เรียกว่าอะไร
5.หน่วยงานหรือผู้ประะกอบกาารธุรกิจให้ความสำคัญกับเรื่องใด
6.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารสารสนเทศซึ่งถือเป็นสิ่งที่จะตัดขาดจากกันไม่ได้เรียกว่าอะไร

วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

สรุปผลการเลือกตั้ง

ในที่สุดแล้ว การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคมที่ผ่านมา พรรคเพื่อไทยที่นำโดยนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สามารถกวาด ส.ส.ทิ้งห่างพรรคประชาธิปัตย์ที่นำโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไปกว่า 100 เก้าอี้ พร้อมกับคว้าคะแนนเสียงเกินครึ่งหนึ่งและสามารถเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลได้สำเร็จ

สำหรับผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ มีดังนี้

1.พรรคเพื่อไทย ได้ ส.ส.แบ่งเขต 201 คน บัญชีรายชื่อ 61 คน รวม 262 คน
2.พรรคประชาธิปัตย์ ได้ ส.ส.แบ่งเขต 116 คน บัญชีรายชื่อ 44 คน รวม 160 คน
3.พรรคภูมิใจไทย ได้ ส.ส.แบ่งเขต 29 คน บัญชีรายชื่อ 5 คน รวม 34 คน
4.พรรคชาติไทยพัฒนา ได้ ส.ส.แบ่งเขต 15 คน บัญชีรายชื่อ 4 คน รวม 19 คน
5.พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ได้ ส.ส.แบ่งเขต 6 คน บัญชีรายชื่อ 1 คน รวม 7 คน
6.พรรคพลังชล ได้ ส.ส.แบ่งเขต 6 คน บัญชีรายชื่อ 1 คน รวม 7 คน
7.พรรครักประเทศไทย ได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 4 คน
8.พรรคมาตุภูมิ ได้ ส.ส.แบ่งเขต 1 คน บัญชีรายชื่อ 1 คน รวม 2 คน
9.พรรครักษ์สันติ ได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 1 คน
10. พรรคประชาธิปไตยใหม่ได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 1 คน
11.พรรคมหาชน ได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 1 คน

ทั้งนี้ รายชื่อว่าที่ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่ออย่างไม่เป็นทางการ ( ณ วันที่ 4 กรกฎาคม เวลา 11.00 น.) ทั้งหมด 125 คน มีดังนี้

พรรคเพื่อไทย ได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อทั้งหมด 61 คน ได้แก่

1.น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
2.ยงยุทธ วิชัยดิษฐ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย
3.ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
4.เสนาะ เทียนทอง
5.พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก
6.มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
7.ปลอดประสพ สุรัสวดี
8.จตุพร พรหมพันธุ์
9.ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
10.สุชาติ ธาดาธำรงเวช
11.พล.ต.ท.ชัชจ์ กุลดิลก
12.จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
13.บัณฑูร สุภัควณิช
14.พ.อ.ดร.อภิวันท์ วิริยะชัย
15.สันติ พร้อมพัฒน์
16.พล.ต.อ.วิรุฬ พื้นแสน
17.พล.ต.ท.วิโรจน์ เปาอินทร์
18.วิรุฬ เตชะไพบูลย์
19.เหวง โตจิราการ
20.สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
21.นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
22.วัฒนา เมืองสุข
23. พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา
24.นิติภูมิ นวรัตน์
25.นางสาวภูวนิดา คุนผลิน
26.สุนัย จุลพงศธร
27.นางระพิพรรณ พงศ์เรืองรอง
28.คณวัฒน์ วศินสังวร
29.อัสนี เชิดชัย
30.นางสาวสุณีย์ เหลืองวิจิตร
31.พันตรี อาณันย์ วัชโรทัย
32.วิรัช รัตนเศรษฐ
33.พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
34.นภินทร ศรีสรรพางค์
35.ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์
36.นางวราภรณ์ ตั้งภาภรณ์
37.นางสาวสุนทรี ชัยวิรัตนะ
38.นางสาวตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร
39.สมพล เกยุราพันธุ์
40.นพงศกร อรรณนพพร
41.นายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์
42.นางสาวขัตติยา สวัสดิผล
43.ธนเทพ ทิมสุวรรณ
44.นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์
45.เกียรติชัย ติรณศักดิ์กุล
46.วิภูแถลง พัฒนภูมิไท
47.นางเยาวนิตย์ เพียงเกษ
48.พายัพ ปั้นเกตุ
49.นางรังสิมา เจริญศิริ
50.รองศาสตราจารย์เชิดชัย ตันติศิรินทร์
51.กานต์ กัลป์ตินันท์
52.ธนิก มาสีพิทักษ์
53.พิชิต ชื่นบาน
54.ก่อแก้ว พิกุลทอง
55.นิยม วรปัญญา
56.นางสาวจารุพรรณ กุลดิลก
57.อรรถกร ศิริลัทธยากร
58.เวียง วรเชษฐ์
59.อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
60.วิเชียร ขาวขำ
61.ประวัฒน์ อุตโมท

พรรคประชาธิปัตย์ ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 44 คน ได้แก่

1.อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
2.ชวน หลีกภัย
3.บัญญัติ บรรทัดฐาน
4.เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
5.จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
6.กรณ์ จาติกวนิช
7. คุณหญิงกัลยา โสภณพาณิช
8.อภิรักษ์ โกษะโยธิน
9.นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี
10.นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
11.นายไพฑูรย์ แก้วทอง
12.นายอิสสระ สมชัย
13.นายเจริญ คันธวงศ์
14.นายอลงกรณ์ พลบุตร
15.นายอาคม เอ่งฉ้วน
16.นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
17.สุทัศน์ เงินหมื่น
18.องอาจ คล้ามไพบูลย์
19.พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
20.วิฑูรย์ นามบุตร
21.ถวิล ไพรสณฑ์
22. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู
23.พ.อ.วินัย สมพงษ์
24.สุวโรช พะลัง (เสียชีวิต)
25.ดร.ผุสดี ตามไท
26.ปัญญวัฒน์ บุญมี
27.สามารถ ราชพลสิทธิ์
28.นพ.บุรณัชย์ สมุทรักษ์
29.ภุชงค์ รุ่งโรจน์
30.นิพนธ์ บุญญามณี
31.นางอานิก อัมระนันทน์
32.โกวิทย์ ธารณา
33.อัศวิน วิภูศิริ
34.ธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ
35.เกียรติ สิทธิอมร
36. บุญยอด สุขถิ่นไทย
37.กนก วงษ์ตระหง่าน
38.พล.อ.พิชาญเมธ ม่วงมณี
39.สุกิจ ก้องธรนินทร์
40.ประกอบ จิรกิติ
41.พีรยศ ราฮิมมูลา
42.กษิต ภิรมย์
43.วีระชัย วีระเมธีกุล
44. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
45.วัชระ เพชรทอง

หมายเหตุ: เนื่องจากนายสุวโรช พะลัง ผู้สมัคร ส.ส.ลำดับที่ 24 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน จึงเลื่อนลำดับที่ 45 ขึ้นมาแทน

พรรคภูมิใจไทย ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 5 คน ได้แก่

1.ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
2.ชัย ชิดชอบ
3.เรืองศักดิ์ งามสมภาค
4.นางนาที รัชกิจประการ
5.ศุภชัย ใจสมุทร

พรรครักประเทศไทย ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 4 คน ได้แก่

1.ชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์
2.นายชัยวัฒน์ ไกฤกษ์
3.โปรดปราน โต๊ะราหนี
4.พงษ์ศักดิ์ เรือนเงิน

พรรคชาติไทยพัฒนา ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 4 คน ได้แก่

1.ชุมพล ศิลปอาชา
2.พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์
3.นิติวัฒน์ จันทร์สว่าง
4.ยุทธพล อังกินันทน์

พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 4 คน ได้แก่

1.ร.ต.ประพาส ลิมปะพันธุ์
2.ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง

พรรคมาตุภูมิ ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 1 คน ได้แก่

1.พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน

พรรคพลังชล ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 1 คน ได้แก่

1.นายสันตศักย์ จรูญงามพิเชษฐ์

พรรครักษ์สันติ ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 1 คน ได้แก่

1.ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

พรรคมหาชน ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 1 คน ได้แก่

1.นายอภิรัต ศิรินาวิน

พรรคประชาธิปไตยใหม่ ได้ ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 1 คน ได้แก่

1.นางพัชรินทร์ มั่นปาน

และถ้าหากตรวจสอบคะแนน ส.ส.บัญชีรายชื่อเป็นรายภาค จะพบว่า

- ภาคเหนือ เลือกพรรคเพื่อไทย 49.69% พรรคประชาธิปัตย์ 29.67% พรรคชาติไทยพัฒนา 3.60% พรรคภูมิใจไทย 2.00% พรรครักประเทศไทย 1.86% พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 0.93% พรรคมหาชน 0.57% พรรครักษ์สันติ 0.50% พรรคอื่น ๆ อีก 11.18%

- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เลือกพรรคเพื่อไทย 63.49% พรรคประชาธิปัตย์ 13.45% พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 3.32% พรรคชาติไทยพัฒนา 2.08% พรรครักประเทศไทย 1.34% พรรครักษ์สันติ 0.42% พรรคกิจสังคม 0.34% พรรคอื่น ๆ อีก 15.56%

- ภาคกลาง เลือกพรรคเพื่อไทย 38.8% พรรคประชาธิปัตย์ 35.14% พรรคชาติไทยพัฒนา 4.12% พรรครักประเทศไทย 4.1% พรรคภูมิใจไทย 3.36% พรรคพลังชล 1.67% พรรครักษ์สันติ 0.99% พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 0.55% พรรคมาตุภูมิ 0.50% พรรคอื่น ๆ อีก 10.77%

- ภาคใต้ เลือกพรรคประชาธิปัตย์ 70.42% พรรคเพื่อไทย 7.63% พรรคมาตุภูมิ 3.3% พรรคภูมิใจไทย 2.94% พรรครักประเทศไทย 2.07% พรรคชาติไทยพัฒนา 1.03% พรรคแทนคุณแผ่นดน 0.91% พรรคมหาชน 0.72% พรรคประชาธรรม 0.57% พรรคประชาธิปไตยใหม่ 0.50% พรรคอื่น ๆ อีก 9.91%

- กรุงเทพมหานคร เลือกพรรคประชาธิปัตย์ 41.62% พรรคเพื่อไทย 39.69% พรรครักประเทศไทย 6.89% พรรครักษ์สันติ 2.66% พรรคมาตุภูมิ 0.39% พรรคชาติไทยพัฒนา 0.34% พรรคกิจสังคม 0.27% พรรคภูมิใจไทย 0.26% พรรคอื่น ๆ อีก 7.88%

ขณะที่ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต จำนวนทั้งหมด 375 คน อย่างไม่เป็นทางการ ( ณ วันที่ 4 กรกฎาคม เวลา 11.00 น.) ปรากฏว่า

- พรรคเพื่อไทย ได้ ส.ส.แบ่งเขต ทั้งหมด 201 คน แบ่งเป็นภาคเหนือ 49 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 101 คน ภาคกลาง 41 คน กรุงเทพมหานคร 10 คน ภาคใต้ไม่ได้ ส.ส.

- พรรคประชาธิปัตย์ ได้ ส.ส.แบ่งเขต ทั้งหมด 116 คน แบ่งเป็นภาคเหนือ 13 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 คน ภาคกลาง 25 คน กรุงเทพมหานคร 23 คน และภาคใต้ 50 คน

- พรรคภูมิใจไทย ได้ ส.ส.แบ่งเขต ทั้งหมด 29 คน แบ่งเป็นภาคเหนือ 2 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13 คน ภาคกลาง 13 คน และภาคใต้ 1 คน ส่วนกรุงเทพมหานครไม่มี ส.ส.

- พรรคชาติไทยพัฒนา ได้ ส.ส.แบ่งเขต ทั้งหมด 15 คน แบ่งเป็นภาคเหนือ 2 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 คน ภาคกลาง 11 คน และภาคใต้ 1 คน ส่วนกรุงเทพมหานครไม่มี ส.ส.

- พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ได้ ส.ส.แบ่งเขต ทั้งหมด 7 คน แบ่งเป็นภาคเหนือ 1 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6 คน ส่วนภาคกลาง ภาคใต้ และกรุงเทพมหานครไม่มี ส.ส.

- พรรคพลังชล ได้ ส.ส.แบ่งเขต ทั้งหมด 6 คน มาจากจังหวัดชลบุรีทั้งหมด 6 ที่นั่ง

- พรรคมาตุภูมิ ได้ ส.ส.แบ่งเขต 1 คน จากเขต 3 จังหวัดปัตตานี

รายชื่อว่าที่ ส.ส.แบ่งเขต (อย่างไม่เป็นทางการ)

กรุงเทพมหานคร

เขต 1 นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายอนุชา บูรพชัยศรี พรรคประชาธิปัตย์
เขต 5 นางสาวลีลาวดี วัชโรบล พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายธนา ชีรวินิจ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 7 นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 8 นายสรรเสริญ สมะลาภา พรรคประชาธิปัตย์
เขต 9 นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี พรรคประชาธิปัตย์
เขต 10 นายชื่นชอบ คงอุดม พรรคประชาธิปัตย์
เขต 11 นายสุรชาติ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย
เขต 12 นายการุณ โหสกุล พรรคเพื่อไทย
เขต 13 น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ พรรคเพื่อไทย
เขต 14 นายอนุสรณ์ ปั้นทอง พรรคเพื่อไทย
เขต 15 นายณัฎฐ์ บรรทัดฐาน พรรคประชาธิปัตย์
เขต 16 นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ พรรคเพื่อไทย
เขต 17 นายวิชาญ มีนชัยนันท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 18 นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 19 นายไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 20 นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 21 นางนาถยา เบ็ญจศิริวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 22 นายสามารถ มะลูลีม พรรคประชาธิปัตย์
เขต 23 นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 24 นายสุรันต์ จันทร์พิทักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 25 นางนันทพร วีรกุลสุนทร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 26 นายณัฎฐพล ทีปสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 27 นายสากล ม่วงศิริ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 28 พันตำรวจเอกสามารถ ม่วงศิริ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 29 นายเอกนัฎ พร้อมพันธุ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 30 นางอรอนงค์ คล้ายนก พรรคประชาธิปัตย์
เขต 31 นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 32 นายชนินทร์ รุ่งแสง พรรคประชาธิปัตย์
เขต 33 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก พรรคประชาธิปัตย์

ภาคเหนือ

กำแพงเพชร

เขต 1 นายไผ่ ลิกค์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายปรีชา มุสิกุล พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายอนันต์ ผลอำนวย พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายปริญญา ฤกษ์หร่าย พรรคเพื่อไทย

เชียงราย พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ทั้งจังหวัด

เขต 1 นายสามารถ แก้วมีชัย พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 น.ส.วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายอิทธิเดช แก้วหลวง พรรคเพื่อไทย
เขต 7 น.ส.ละออง ติยะไพรัช พรรคเพื่อไทย

เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทยได้ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 น.ส.ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายกฤษดาภรณ์ เสียมภักดี พรรคเพื่อไทย
เขต 3 น.ส.ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายวิทยา ทรงคำ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายประสิทธิ์ วุฒินันชัย พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายบุญทรง เตริยาภิรมณ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นายนพคุณ รัฐไผท พรรคเพื่อไทย
เขต 9 นายสุรพล เกียรติไชยากร พรรคเพื่อไทย
เขต 10 นายศรีเรศ โกฏิคำลือ พรรคเพื่อไทย

ตาก พรรคประชาธิปัตย์ได้ยกจังหวัด

เขต 1 นายเธียรชัย สุวรรณเพ็ญ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายธนิตพล ไชยนันทน์ พรรคประชาธิปัตย์

นครสวรรค์

เขต 1 นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายทรงศักดิ์ ส่งเสริมธรรมชัย พรรคภูมิใจไทย
เขต 3 ร.ต.ต.จำเริญ วรทอง พรรคภูมิใจไทย
เขต 4 พ.ต.ท.นุกูล แสงศิริ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายทายาท เกียรติชูศักดิ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายประสาท ตันประเสริฐ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

น่าน พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1นางสิรินทร รามสูต พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายชลน่าน ศรีแก้ว พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ พรรคเพื่อไทย

พะเยา พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 น.ส.อรุณี ชำนาญยา พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายไพโรจน์ ตันบรรจง พรรคเพื่อไทย

แพร่ พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นางปานหทัย เสรีรักษ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล พรรคเพื่อไทย

พิจิตร

เขต1 นายวินัย ภัทรประสิทธิ์ พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 2 นายนราพัฒน์ แก้วทอง พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ พรรคชาติไทยพัฒนา

พิษณุโลก

เขต 1 นายวรงค์ เดชกิจวิกรม พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 3 นายจุติ ไกรฤกษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายนิยม ช่างพินิจ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายนคร มาฉิม พรรคประชาธิปัตย์

เพชรบูรณ์

เขต 1 นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายจักรัตน์ พั้วช่วย พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายยุพราช บัวอินทร์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายเอี่ยม ทองใจสด พรรคเพื่อไทย

แม่ฮ่องสอน

เขต 1 นายสมบัติ ยะสินธุ์ พรรคประชาธิปัตย์

ลำปาง พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1นายสมโภช สายเทพ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายวาสิต พยัคฆบุตร พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายจรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย

ลำพูน พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายสงวน พงษ์มณี พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายสถาพร มณีรัตน์ พรรคเพื่อไทย

สุโขทัย

เขต 1 นายวิรัตน์ วิริยะพงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสัมพันธ์ ตั้งเบญจผล พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายจักรวาล ชัยวิรัตน์นุกุล พรรคภูมิใจไทย
เขต 4 นายมนู พุกประเสริฐ พรรคภูมิใจไทย

อุตรดิตถ์ พรรคเพื่อไทยได้ยกจังหวัด

เขต 1 นายกนก ลิ้มตระกูล พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย พรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กาฬสินธุ์ พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นางบุญรื่น ศรีธเรศ
เขต 2 นางวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์
เขต 3 นายคมเดช ไชยศิวามงคล
เขต 4 นายพีระเพชร ศิริกุล
เขต 5 นายนิพนธ์ ศรีธเรศ
เขต 6 นายประเสริฐ บุญเรือง

ขอนแก่น พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นาย ภูมิ สาระผล พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายจตุพร เจริญเชื้อ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นางมุกดา พงษ์สมบัติ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายสุชาย ศรีสุรพล พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายนวัธ เตาะเจริญสุข พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นางดวงแข อรรณพพร พรรคเพื่อไทย
เขต 9 ร.ท.ปรีชาพล พงษ์พานิชย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 10 นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย พรรคเพื่อไทย

ชัยภูมิ

เขต 1นายโอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย พรรคภูมิใจไทย
เขต 2นายมานะ โลหะวณิชย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3น.ส.ปาริชาติ ชาลีเครือ พรรคเพื่อไทย
เขต 4นายอนันต์ ลิมปคุปตถาวร พรรคเพื่อไทย
เขต 5นายเจริญ จรรย์โกมล พรรคเพื่อไทย
เขต 6นางพรเพ็ญ บุญศิริวัฒนกุล พรรคเพื่อไทย
เขต 7นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ พรรคเพื่อไทย

นครพนม พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายยุทธจักร เรืองวรบูรณ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นางมนพร เจริญศรี พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายไพจิต ศรีวรขาน พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายชูกัน กุลวงษา พรรคเพื่อไทย

นครราชสีมา

เขต 1 นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
เขต 2 นายวัชรพล โตมรศักดิ์ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
เขต 3 นายประเสริฐ บุญชัยสุข พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
เขต 4 นางทัศนียา รัตนเศรษฐ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายโกศล ปัทมะ พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายสุชาติ ภิญโญ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นายจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร พรรคเพื่อไทย
เขต 9 นายพลพรี สุวรรณฉวี พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
เขต 10 นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ พรรคภูมิใจไทย
เขต 11 นายสัมภาษณ์ อัตถาวงศ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 12 นายประนอม โพธิ์คำ พรรคภูมิใจไทย
เขต 13 นายศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ พรรคเพื่อไทย
เขต 14 นายประเสริฐ จันทรรวงทอง พรรคเพื่อไทย
เขต 15 นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ พรรคภูมิใจไทย

บึงกาฬ พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายเชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายไตรรงค์ ติธรรม พรรคเพื่อไทย

บุรีรัมย์

เขต 1นายสนอง เทพอักษรณรงค์ พรรคภูมิใจไทย
เขต 2นายรังสิกร ทิมาตฤกะ พรรคภูมิใจไทย
เขต 3นายโสภณ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
เขต 4นางอารีญาภรณ์ ซารัมย์ พรรคภูมิใจไทย
เขต 5นายมนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ พรรคภูมิใจไทย
เขต 6นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน พรรคเพื่อไทย
เขต 7นายหนูแดง วรรณกางซ้าย พรรคเพื่อไทย
เขต 8นายรุ่งโรจน์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย
เขต 9นายจักรกฤษณ์ ทองศรี พรรคภูมิใจไทย

มหาสารคาม พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1นายสุรจิตร ยนต์ตระกูล พรรคเพื่อไทย
เขต 2นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร พรรคเพื่อไทย
เขต 4นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 5นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท พรรคเพื่อไทย

มุกดาหาร พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายอนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายบุญฐิน ประทุมลี พรรคเพื่อไทย

ยโสธร พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายบุญแก้ว สมวงศ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายพีรพันธ์ พาลุสุข พรรคเพื่อไทย

ร้อยเอ็ด พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายวราวงษ์ พันธุ์ศิลา พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายฉลาด ขามช่วง พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายนิรมิต สุจารี พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นางเอมอร สินธุไพร พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายกิตติ สมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายศักดา คงเพชร พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ พรรคเพื่อไทย

เลย พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นางนันทนา ทิมสวรรณ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นางเปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข พรรคเพื่อไทย
เขต 4 ส.อ.วันชัย บุษบา พรรคเพื่อไทย

ศรีษะเกษ

เขต 1 นายธเนศ เครือรัตน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ พรรคภูมิใจไทย
เขต 4 นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายธีระ ไตรสรณกุล พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นายปวีณ แซ่จึง พรรคเพื่อไทย

สกลนคร พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายอภิชาต ตีรสวัสดิชัย พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายนิยม เวชกามา พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายนริศร ทองธิราช พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายพัฒนา สัพโส พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นางอนุรักษ์ บุญศล พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายเสรี สาระนันท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายเกษม อุประ พรรคเพื่อไทย

สุรินทร์

เขต 1 นายปกรณ์ มุ่งเจริญพร พรรคภูมิใจไทย
เขต 2 นางปิยะดา มุ่งเจริญพร พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นางคุณากร ปรีชาชนะชัย พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายครูมานิตย์ สังข์พุ่ม พรรคเพื่อไทย
เขต 6 จ.ส.ต.ประสิทธ์ ไชยศรีษะ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นายชูศักดิ์ แอกทอง พรรคเพื่อไทย

หนองคาย พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายพงศ์พันธ์ สุนทรชัย พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายสมคิด บาลไธสง พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นางชมภู จันทาทอง พรรคเพื่อไทย

หนองบัวลำภู พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายไชยา พรหมา พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายวิชัย สามิตร พรรคเพื่อไทย

อุดรธานี พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายศราวุธ เพชรพนมพร พรรคเพื่อไทย
เขต 2 พ.ต.ท.สุรทิน พิมานเมฆินทร์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายอนันต์ ศรีพันธ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายขจิตร ชัยนิคม พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายทองดี มนิสสาร พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายเกียรติอุดม เมนะสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายจักรพรรดิ ไชยสาส์น พรรคเพื่อไทย
เขต 8 นายเกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม พรรคเพื่อไทย
เขต 9 นางเทียบจุฑา ขาวขำ พรรคเพื่อไทย

อุบลราชธานี

เขต 1 นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นาย ศุภชัย ศรีหล้า พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายวุฒิพงษ์ นามบุตร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายสุพล ฟองงาม พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายสุทธิชัย จรูญเนตร พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายพิสิษฐ์ สันตะพันธ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 7 นายชูวิทย์ กุ่ย พิทักษ์พรพัลลภ พรรคเพื่อไทย
เขต 8 น.ส.บุณย์ธิดา สมชัย พรรคประชาธิปัตย์
เขต 9 นายปัญญา จินตะเวช พรรคเพื่อไทย
เขต 10 นายสมคิด เชื้อคง พรรคเพื่อไทย
เขต 11 นายตุ่น จินตะเวช พรรคชาติไทยพัฒนา

อำนาจเจริญ

เขต 1 นางสมหญิง บัวบุตร พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายอภิวัฒน์ เงินหมื่น พรรคประชาธิปัตย์

ภาคกลาง

กาญจนบุรี

เขต 1 พลเอกสมชาย วิษณุวงศ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายสุรพงษ์ ปิยะโชติ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายประชา โพธิพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 5 นางศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ พรรคประชาธิปัตย์



เขต 1 นายธวัชชัย อนามพงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ พรรคประชาธิปัตย์

ฉะเชิงเทรา

เขต 1 นายบุญเลิศ ไพรินทร์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสมชัย อัศวชัยโสภณ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายรส มะลิผล พรรคเพื่อไทย
เขต 4 พลตำรวจโทพิทักษ์ จารุสมบัติ พรรคประชาธิปัตย์

ชลบุรี

เขต 1 นายสุชาติ ชมกลิ่น พรรคพลังชล
เขต 2 นายอุกฤษณ์ ตั๊นสวัสดิ์ พรรคพลังชล
เขต 3 นายรณเทพ อนุวัฒน์ พรรคพลังชล
เขต 4 นายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 5 นายพันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา พรรคพลังชล
เขต 6 นางสุกุมล คุณปลื้ม พรรคพลังชล
เขต 7 นายปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ พรรคพลังชล
เขต 8 พลเรือเอกสุรพล จันทน์แดง พรรคเพื่อไทย

ชัยนาท พรรคภูมิใจไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นางพรทิวา นาคาศัย พรรคภูมิใจไทย
เขต 2 นางนันทนา สงฆ์ประชา พรรคภูมิใจไทย

ตราด

เขต 1 นายธีระ สลักเพชร พรรคประชาธิปัตย์

นครนายก

เขต 1 นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร พรรคภูมิใจไทย

นครปฐม

เขต 1 พันโทสินธพ แก้วพิจิตร พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 2 นายรัฐกร เจนกิจณรงค์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายอนุชา สะสมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ พรรคเพื่อไทย

นนทบุรี พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายนิทัศน์ ศรีนนท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายอุดมเดช รัตนเสถียร พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นางวไลพร อัจฉริยะประสิทธิ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายมนตรี ตั้งเจริญถาวร พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายวันชัย เจริญนนทสิทธิ์ พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายฉลอง เรี่ยวแรง พรรคเพื่อไทย

ปทุมธานี พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายสุทิน นพขำ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายสุรพงษ์ อึ่งอัมพรวิไล พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายสมศักดิ์ ใจแคล้ว พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นางสาวพรพิมล ธรรมสาร พรรคเพื่อไทย
เขต 5 ว่าที่ร้อยตรีสุเมธ ฤทธาคนี พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย

ประจวบคีรีขันธ์ พรรคประชาธิปัตย์ ได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายมนตรี ปาน้อยนนท์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายประมวล พงศ์ถาวราเดช พรรคประชาธิปัตย์

ปราจีนบุรี

เขต 1 นายอำนาจ วิลาวัลย์ พรรคภูมิใจไทย
เขต 2 นายชยุต ภุมมะกาญจนะ พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 3 นางเพชรินทร์ เสียงเจริญ พรรคภูมิใจไทย

พระนครศรีอยุธยา

เขต 1 นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 2 นายพ้อง ชีวานันท์ พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายวิทยา บุรณศิริ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นายองอาจ วชิรพงศ์ พรรคเพื่อไทย

เพชรบุรี พรรคประชาธิปัตย์ได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายอรรถพร พลบุตร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายกัมพล สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายอภิชาต สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์

ระยอง พรรคประชาธิปัตย์ได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายสาธิต ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายบัญญัติ เจตนจันทร์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายธารา ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายวิชัย ล้ำสุทธิ พรรค ประชาธิปัตย์

ราชบุรี

เขต 1 นายมานิต นพอมรบดี พรรคภูมิใจไทย
เขต 2 นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา พรรคภูมิใจไทย
เขต 3 นางปารีณา ไกรคุปต์ พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 4 นางสาวชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร พรรคภูมิใจไทย
เขต 5 นายบุญดำรง ประเสริฐโสภา พรรคภูมิใจไทย

ลพบุรี

เขต 1 นายพิชัย เกียรติวินัยสกุล พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นางสาวมัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช พรรคภูมิใจไทย
เขต 3 นายอำนวย คลังผา พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายเกียรติ เหลืองขจรวิทย์ พรรคภูมิใจไทย

สมุทรปราการ

เขต 1 นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นางอนุสรา ยังตรง พรรคเพื่อไทย
เขต 4 นายวรชัย เหมะ พรรคเพื่อไทย
เขต 5 นางสลิลทิพย์ สุขวัฒน์ พรรคเพื่อไทย
เขต 6 นางสาวเรวดี รัศมิทัศ พรรคภูมิใจไทย
เขต 7 นายประชา ประสพดี พรรคเพื่อไทย

สมุทรสงคราม

เขต 1 นางสาวรังสิมา รอดรัศมี พรรคประชาธิปัตย์

สมุทรสาคร พรรคประชาธิปัตย์ ได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายครรชิต ทับสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายนิติรัฐ สุนทรวร พรรคประชาธิปัตย์

สระแก้ว พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายฐานิสร์ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย
เขต 2 นางสาวตรีนุช เทียนทอง พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายสรวงศ์ เทียนทอง พรรคเพื่อไทย

สระบุรี

เขต 1 นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายอรรถพล วงษ์ประยูร พรรคเพื่อไทย
เขต 3 นายวัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ พรรคภูมิใจไทย
เขต 4 นายองอาจ วงษ์ประยูร พรรคเพื่อไทย

สิงห์บุรี

เขต 1 นายสุรสาล ผาสุขทวี พรรคเพื่อไทย

สุพรรณบุรี

เขต 1 นายสรชัด สุจิตต์ พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 2 นายชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 3 นายนพดล มาตรศรี พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 4 นางสาวพัชรี โพธสุธน พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 5 นายสหรัฐ กุลศรี พรรคเพื่อไทย

อ่างทอง พรรคชาติไทยพัฒนา ได้ ส.ส.ยกจังหวัด

เขต 1 นายภราดร ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 2 นายกรวีร์ ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทยพัฒนา

อุทัยธานี

เขต 1 นายกุลเดช พัวพัฒนกุล พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายชาดา ไทยเศรษฐ์ พรรคชาติไทยพัฒนา

ภาคใต้

กระบี่

เขต 1 นายสาคร เกี่ยวข้อง พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสุชีน เอ่งฉ้วน พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล พรรคประชาธิปัตย์

ชุมพร

เขต 1 นายชุมพล จุลใส พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสราวุธ อ่อนละมัย พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายธีระชาติ ปางวิรุฬรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์

ตรัง
เขต 1 นายสุกิจ อัถโถปกรณ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล พรรคประชาธิปัตย์

นครศรีธรรมราช

เขต 1 นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายวิทยา แก้วภราดัย พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายอภิชาต การิกาญจน์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 5 นายประกอบ รัตนพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 6 นายเทพไท เสนพงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 7 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 8 นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 9 นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล พรรคประชาธิปัตย์

นราธิวาส

เขต 1 นายกูอาเซ็ม กูจินามิง พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายรำรี มามะ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายเจะอามิง โตะตาหยง พรรคประชาธิปัตย์

ปัตตานี

เขต 1 นายอันวาร์ สาและ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายอนุมัติ ซูสารอ พรรคมาตุภูมิ
เขต 4 นายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์ พรรคภูมิใจไทย

พังงา

เขต 1 นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์

พัทลุง

เขต 1 นางสาวสุพัชรี ธรรมเพชร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายนิพิฎฐ์ อินทรสมบัติ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายนริศ ขำนุรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์

ภูเก็ต

เขต 1 นางอัญชลี เทพบุตร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายเรวัต อารีรอบ พรรคประชาธิปัตย์

ยะลา

เขต 1 นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายอับดุลการิม เด็งระกีนา พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายณรงค์ ดูดิง พรรคประชาธิปัตย์

ระนอง

เขต 1 นายวิรัช ร่มเย็น พรรคประชาธิปัตย์

สงขลา

เขต 1 นายเจือ ราชสีห์ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายภิรพล ลาภาโรจน์กิจ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นายวิรัตน์ กัลยาศิริ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว พรรคประชาธิปัตย์
เขต 5 นายประพร เอกอุรุ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 6 นายถาวร เสนเนียม พรรคประชาธิปัตย์
เขต 7 นายศิริโชค โสภา พรรคประชาธิปัตย์
เขต 8 พล.ต.ต.สุรินทร์ ปาลาเร่ พรรคประชาธิปัตย์

สตูล

เขต 1 นายธานินทร์ ใจสมุทร พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต 2 นายฮอซาลี ม่าเหร็ม พรรคประชาธิปัตย์

สุราษฎร์ธานี

เขต 1 นายธานี เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 2 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 3 นางโสภา กาญจนะ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 4 นายเชน เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์
เขต 5 นายสินิตย์ เลิศไกร พรรคประชาธิปัตย์
เขต 6 นายธีรภัทร พริ้งศุลกะ พรรคประชาธิปัตย์

พรรครัฐบาลและจำนวนที่นั่ง

พรรคแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ในการเลือกตั้ง 2554 นี้ คือพรรคเพื่อไทย โดยได้จำนวน สส มากถึง 265 ที่นั่ง รายชื่อพรรคที่เข้าร่วมรัฐบาล มีรายชื่อดังนี้ พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคมหาชน พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน และพรรคพลังชล รวมจำนวน สส ของรัฐบาลทั้งสิ้น 299 เสียง

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยี คือ เทคโนเกี่ยวข้องกับการจัดหา ประมวลผล จัดการและจัดเก็บ วิเคราะห์
ฮาร์ตแวร์ ได้แก่ ซีพียู เม้าท์ แป้นพิมพ์
ซอฟแวร์ ได้แก่ การลงโปรแกรม การลงข้อมูลต่างๆ
โรจิติก คือ การวางแผนให้คุ้ม
คุณสมบัติของสารสนเเทศ
-สามารถเข้าถึงได้ง่าย
-มีความมถูกต้อง
-มีความครบถ้วน
-ความเหมาะสม
-ความชัดเจน
-ความตรงต่อเวลา
ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสือที่ใช้บันทึกข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ ความรู้ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
1.ทรัพยากรตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร
2.ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ เช่น ทัศนวัสดุ โสตวัสดุ โสตทัศนวัตถุ
3.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานนข้อมูลออฟไลน์ ฐานข้อมูลออนไลน์